top of page
S__45244456.jpg

อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.เอกสิทธิ์ สนามทอง

ตำแหน่งปัจจุบัน​

  • อาจารย์ประจำคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • กรรมการฝ่ายวิชาการ สภาคณาจารย์ รุ่นที่ 31 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

  • คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

ตำแหน่งอื่นๆ

  1. คณะกรรมการคัดเลือกผลงานวิจัย (Editorial Board)วารสาร Thailand HR Journal
    สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PMAT.)

  2. คณะกรรมการกลั่นกรองบทความทางวิชาการ (Peer Reviewer)

    • วารสารวิชาการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

    • วารสารบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ

  3. อุปนายกฝ่ายวิชาการ สมาคมนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  4. บรรณาธิการวารสารวิชาการ สมาคมนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  5. ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

  6. กรรมการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์และวิทยานิพนธ์

    • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    • มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

  7. ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  8. ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

ประวัติการศึกษา

  • ระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด) สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 

  • ระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

  • ระดับปริญญาตรี

    • บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

    • บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

วุฒิบัตร

  1. Program in Dummy Company Management Training At Assumption University Bangkok Thailand.

  2. Program in Human Resources Development At Swiss School Chur, Switzerland.

  3. หลักสูตร “ต้นกล้านักวิจัยแห่งชาติ” รุ่นที่ 9 จาก สภาวิจัยแห่งชาติ

  4. หลักสูตร “การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่” รุ่นที่ 23 จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์

การได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

  1. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.) พระราชทาน เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2558

  2. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 5 เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ (บ.ภ.) พระราชทาน เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2553

ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี

  • HRD 3203 การวางแผนการจัดการความรู้

  • HRD 3401 เทคนิคการวางแผนอาชีพและการพัฒนาบุคลากร

  • HRD 3404 การให้คำปรึกษาและการวางแผนอาชีพ

  • HRD 4111 ประเด็นและแนวโน้มทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • RAM 1000 ความรู้คู่คุณธรรม

ระดับปริญญาโท​

  • HRD 6105 การศึกษางานวิจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • HRD 6106 การฝึกปฏิบัติด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • HRD 6108 การศึกษาเปรียบเทียบในประชาคมอาเซียน

  • HRD 7096 การศึกษาอิสระด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • BUS 6016 ระเบียบวิธีการวิจัยทางธุรกิจ (หลักสูตร MBA.)

  • BUS 6014 การจัดการทุนมนุษย์ (หลักสูตร MBA.)

ระดับปริญญาเอก

  • HRD 9203 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์กร

  • HRD 9204 ยุทธศาสตร์การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  • HRD 9205 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงยุทธศาสตร์บูรณาการ

 

ตำรา/หนังสือ​

  1. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2556). การจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

  2. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2558). การจัดการและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ประเด็นและแนวโน้มสู่การปฏิบัติ (HRD 4111). กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

  3. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2560). เทคนิคการวางแผนอาชีพและการพัฒนาบุคลากร (HRD 3401). กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

  4. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2561). การจัดการและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. (HRD 4120). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

งานวิจัย

  1. อิงอร ตั้นพันธ์ เอกสิทธิ์ สนามทอง และคณะ. (2554). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย.

  2. เอกสิทธิ์ สนามทอง และคณะ. (2554). เครือข่ายป่าชุมชน ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. หลักสูตรต้นกล้านักวิจัย รุ่นที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ส่วนงานฝึกอบรมและพัฒนา.

  3. อิงอร ตั้นพันธ์ เอกสิทธิ์ สนามทอง และคณะ. (2555). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย.

  4. ฐิติวรรณ สินธุ์นอก, เอกสิทธิ์ สนามทอง และกิตติ ชุณหศรีวงศ์. (2556). สมรรถนะที่จำเป็นของผู้จัดการฝึกอบรมสำหรับองค์กรเอกชนในประเทศไทยในบริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์และมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 

  5. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2560). แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรและการแสดงพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการของมหาวิทยาลัยแบบตลาดวิชาในประเทศไทย. ทุนอุดหนุนการวิจัยคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ประจำปีงบประมาณ 2559. คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง

บทความงานวิจัยที่ได้เผยแพร่

  1. Phongsamran, S., Tanphan, I., Sanamthong, E. and Others. (2013). Correlated factors of working efficiency of supporting St aff at Kasem Bundit University. ScienceDirect. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 88(2013). pp. 20-27.

  2. อิงอร ตั้นพันธ์ เอกสิทธิ์ สนามทองและคณะ. (2556). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานโรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเกษมบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556

  3. Sanamthong, E. and Chunhasriwong, K. (2015). The essential competencies of training managers for the private sector in Thailand in the context of AEC. Bangkok. Proceedings of Ramkhamhaeng University International Research Conference. September 2 – 3, 2015  PP. 92 – 105

  4. K. Na-Nan, E. Sanamthong, M. Sulong. (2015). Employees Engagement, quality of service and customers satisfaction affecting customer loyalty of hair and beauty salon business. International Journal of Applied Business and Economic Research, 13(15). (SCOPUS Q4)

  5. K. Na-Nan, P. Thanitbenjasith, E. Sanamthong, P. Pukkeeree (2016). The Relationship between Organizational Cultures and Courageous Followership Behaviors: What’s The Relationship and Why Does It Matter?. International Business Management 10 (8), PP. 4384-4390. (SCOPUS Q3)

  6. E. Sanamthong, K. Na-Nan, J. Joungtrakul and A. Dhienhirun. (2017). Causal Model of Transformational Leadership Influencing Organization Engagement and Organizational Citizenship Behavior of the Employees in Academic Fields of the “Knowledge Market” Type of Universities in Thailand. International Journal of Applied Business and Economic Research (IJABER) Vol.15 PP. 769-786 (SCOPUS Q4)

  7. A. Waliapon, N. Sinart, P. Anak, E. Sanamthong, M. Wattanasom and B. Tirata. (2018). The Needs of Competency Development of Thai Sport Organization Employees. The 5th International Seminar on Sports and Exercise Psychology. (ISSEP 2018).

  8. นิษา สังข์สำราญ เอกสิทธิ์ สนามทอง วชิระ ชนะบุตร และตรัยคุณ รอตเกษม. (2561). การประเมินชุดฝึกอบรมพนักงานระดับผู้จัดการของบริษัท เดอะไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป จำกัด (มหาชน). การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 “RMUTT Global Business and Economics Conference 2018 (RTBEC 2018)” ระหว่างวันที่วันที่ 24–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561  ณ  คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

  9. ธัญญนัฐ กำเนิดศิริ เอกสิทธิ์ สนามทอง สมฉวี ศิริโสภณา และชาญพิชญ์ วัฒนชัย. (2561). ความสุขในการทำงานของพนักงานบริษัท ไทย คอนซัลแตนท์ แอนด์ พับบลิค รีเลชั่น จำกัด. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 “RMUTT Global Business and Economics Conference 2018 (RTBEC 2018)” ระหว่างวันที่วันที่ 24–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561  ณ  คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

  10. ปกรณ์ สีม่วง เอกสิทธิ์ สนามทอง วชิระ ชนะบุตร และสมชาย หิรัญกิตติ. (2561). ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 “RMUTT Global Business and Economics Conference 2018 (RTBEC 2018)” ระหว่างวันที่ 24–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561  ณ  คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

  11. เบ็ญจมาศ พัฒน์พันธุ์ เอกสิทธิ์ สนามทอง วชิระ ชนะบุตร และตรัยคุณ รอตเกษม. (2561). การจัดการความรู้ของพนักงานบริษัท แอดวานซ์ สมาร์ท เทคโนโลยี จำกัด. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 “RMUTT Global Business and Economics Conference 2018 (RTBEC 2018)” ระหว่างวันที่วันที่ 24–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561  ณ  คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

  12. ปณาลี บุญเฟื่อง เอกสิทธิ์ สนามทอง ชาญพิชญ์ วัฒนชัย และณัฐธยาน์ วงษ์สุวรรณ. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานเจนเนอชั่นวายในบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 “RMUTT Global Business and Economics Conference 2018 (RTBEC 2018)” ระหว่างวันที่วันที่ 24–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561  ณ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

บทความวิชาการที่ได้เผยแพร่

  1. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2550). การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปีที่ 3 หน้า 92 – 106

  2. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2557). แนวทางการบริหารองค์การด้วยกระบวนการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ เพื่อความสำเร็จขององค์การที่ยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. กรกฎาคม 2557. หน้า 506-525

  3. กล้าหาญ ณ น่าน, จำเนียร จวงตระกูล, เอกสิทธิ์ สนามทอง และพีระพงศ์ภักคีรี. (2557). ปรัชญาการวิจัย. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. หน้า 1-10 (TCI กลุ่ม 2)

  4. เอกสิทธิ์ สนามทอง และ กล้าหาญ ณ น่าน (2561). บริบทที่มีอิทธิพลต่อการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.   ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561) ( (TCI กลุ่ม 1)

  5. เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2562). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : แนวทางพัฒนาสู่ความสำเร็จขององค์การ. วารสารเกษมบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) (TCI กลุ่ม 1)

 

ประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมา

  1. ผู้รับผิดชอบหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

  2. อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

  3. ที่ปรึกษาด้านทรัพยากรมนุษย์ให้กับบริษัทเอกชน

  4. อาจารย์พิเศษระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

  5. ประธานกรรมการ/กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

  6. ประธานกรรมการ/กรรมการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  7. ประธานกรรมการ/กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  8. วิทยากรผู้บรรยายในหลักสูตรด้านการบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

bottom of page